อาหารคีโตคืออะไร

            วันนี้แอดมินจะมาตอบคำถามเรื่อง อาหารคีโตคืออะไร ที่คนส่วนใหญ่ยังสงสัยมาให้ทุกท่านได้รู้กันในวันนี้ค่ะ เพราะว่าตอนนี้การลดน้ำหนักด้วยการทานคีโตนั้นกำลังเป็นกระแสอย่างมาก แล้วอะไรทานได้ อะไรทานไม่ได้ เดี๋ยววันนี้เรามาดูกันค่ะ แต่ก่อนที่จะป แอดมินก็ขอฝากให้ไปติดตาม ความต่างระหว่างกินเจกับกินมัง กันด้วยนะคะ แล้วในวันนี้แอดมินก็ต้องขอขอบคุณ บาคาร่า 168 ที่สนับสนุนเราด้วยค่ะ

🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑

อาหารคีโตคืออะไร ลดน้ำหนักได้หรือหรอ??

อาหารคีโตคืออะไร
คีโต

            วันนี้แอดมินก็จะมาพูดถึงเรื่องของอาหารคีโตนั่นเองค่ะ ซึ่งหลายๆคนก็คงจะสงสัยนะคะ ว่าอาหารคีโตนั้นคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร ซึ่งในปัจจุบันมีการพูดถึงอาหารคีโตกันอย่างแพร่หลายเลยล่ะค่ะ ในฐานะที่ใช้เป็นอาหารในการลดน้ำหนัก แต่ก็ยังมีข้อสงสัยอยู่ ว่าอาหารคีโตนั้นอันตรายมั้ย? ทำไมเราถึงต้องทานไขมันในปริมาณที่เยอะด้วย วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเรื่องนี้กันค่ะ

อย่างแรกเลยนะคะ เราต้องทำความเข้าใจกับชีววิทยาของร่ายกายเราก่อนค่ะ เพราะว่าร่างกายของเรานั้นสามารถอยู่ได้โดยระเผาผลาญ ซึ่งมันก็เปรียบสดหมือนระบบเผาผลาญของเครื่องยนต์นั่นเองค่ะ เชื้อเพลิงที่ร่างกายของเรานั้นสามารถใช้เป็นพลังงานได้ อย่างแรกก็คือคาร์โบไฮเดต ซึ่งจะเปลี่ยนมาเป็นน้ำตาลกลูโคสในกระแสเลือด อย่างที่สองก็คือไขมัน ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นกรดไขมันและคีโตน

อาหารคีโตคืออะไร
อาหารลดน้ำหนัก

ประเด็นก็คือร่างกายของเรานั้นมีการใช้พลังงานทั้งสองอย่างนี้ แต่โดยปกติเซลล์ในร่างกายจะไม่ใช้คาร์โบไฮเดตและไขมันพร้อมกัน เพราะว่ารูปแบบของการเผาผลาญนั้นก็คือไมโตคอนเดีย ซึ่งมันจะสามารถใช้พลังงานได้แค่อย่างใดอย่างนึงเท่านั้นค่ะ ไม่สามารถใช้พร้อมกันได้ ดังนั้นร่างกายของเราจะมีตัวส่งสัญญาณเพื่อบอกเซลล์ว่าตอนนี้ให้ใช้พลังงานชนิดไหนเป็นพลังงาน ถ้าหากว่าเรารับประทาน

คาร์โบไฮเดตจะถูกย่อยและนำมาเปลี่ยนเป็นกลูโคส เพื่อเข้าไปในกระแสเลือด ร่างกายก็จะมีการหลั่งฮอร์โมนที่เรียกว่าอินซูลิน เพื่อบอกให้ระบบเผาผลาญของร่างกายว่าตอนนี้มีน้ำตาลจากอาหารเข้ามานั่นเองค่ะ ให้ร่างกายใช้น้ำตาล และเปลี่ยนเป็นพลังงาน และลดการใช้ไขมันเป็นพลังงานลงนั่นเองค่ะ และถ้าหากว่าน้ำตาลมีปริมาณเกิน อินซูลินจะมีหน้าทีอีกอย่างนึงก็คือ จะเก็บน้ำตาลส่วนเกินไปเป็น

ไกโครเจนที่ตับ ซึ่งโดยทั่วไปก็จะเก็บได้ไม่มากนะคะ จะอยู่ที่ประมาณ 80 กรัม – 100 กรัมเท่านั้นค่ะ หากมีน้ำตาลเกินมากกว่านั้น อินซูลินก็จะเก็บไปเป็นไกโครเจน ในกล้ามเนื้อ ในคนที่มักจะไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย พื้นที่ของไกโครเจนในกล้ามเนื้อก็จะเต็มอยู่เสมอ ถ้าหากว่าเรารับประทานน้ำตาลเข้าไปอีก พื้นที่ที่ไม่เคยเก็บก็จะไม่สามารถเก็บได้ ร่างกายก็จะสั่งให้ไปเก็บเป็นไขมันนั่นเองค่ะ

🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑 🥑

Recommended Articles